Saturday, May 21, 2011

สรุปบทที่ ๔ กับ ที่ ๕ ของภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

   ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
********************************************
Chapter 4 : สารประเภทจรรโลงใจเป็นที่ มี่ความเพลิดเพลิน ข้อคิด ความรู้
(สาระ ความเพลิดเพลิน)
-การสรรคำ(การเลือกคำใข้ ที่ เพราะ เห็น ภาพ มี่ความรู้สึก )
-การเล่นคำ และ เล่นเสียง(ใช้คำซำ้ๆ)
-การใช้ภาพพจน์(การเปรียบเทียบให้รู้สึกว่าเห้นภาพ)
--การเปรียบเทียบโดยตรง หรือ
อุปมา(Simile)-->การเปรียบเหมือน
-ใช้คำ เหมือน,ยังกับ
-ตัวอย่าง
    เจ็บเหมือนมีดกรีด
--การเปรียบเทียบโดยนัย หรือ อุป
ลักษณ์(Metaphor)-->การเปรียบ
เป็น
-ใช้คำ เป็น,คือ
-ตัวอย่าง
ลูก เป็น ดวงตาดวงใจของพ่อแม่
    ผมสีดอกเลา
--การเปรียบเทียบสิ่งที่ตรงกันข้าม(ขัด
แย้งกัน ไม่สอดคบ้องกัน )
-ตัวอย่าง
    เก่งเป็นบ้า
    รีบทำอย่างช้าๆ
--การเปรียบเทียบโดยใช้สิ่งหนึ่งเทียบ
อีกสิ่งหนึ่ง หรือ นามนัย(Metonymy) , สัมพจนัย(Synecdoche)
-การใช้คำ หรือ วลี
-ตัวอย่าง
  เก้าอี้   (ตำแนง)
-การกล่าวถึงสถานที่แต่หมายถืง คน(สิ่งใหญ่แทนสิ่งเล็ก)
-ตัวอย่าง
    เจ้าแผ่นดิน
-การกล่าวถึงชื่อคนแต่หมายถึง
ผลงาน
-ตัวอย่าง
  เทอมหน้าจะเรียน "โม    ลิแยร์
   "โมลิแยร์" หมายถึงจะ
   เรียนผลงานของเขา
-การกล่าวถึงส่วนย่อยของสิ่งใด
สิ่งหนึ่ง(สิ่งเล็กแทนสิ่งใหญ่)
-ตัวอย่าง
  กินข้าวกัน ("ข้าว" มิใช่   กินอย่างเดียว)
-การนำชื่อเครื่องหมายการค้า ของสินค้า บริษัท​ กลุ่มคน หรือ
สัญลักษณ์มาใช้แทน
-ตัวย่าง
  มาม่า(บะหมี่กึ่งสำเร้
         จรูป)
  ชันไลต์(นำ้ยาล้างจาน)
-การเปรียบเทียบโดยใช้คำเกิน จริงหรืออติพจน์(Hyperbole)
(คำพูดที่เกินจริง)
-- รักคุณเท่าฟ้า
-บุคลาธิษฐาน(ทำให้สิ่ไม่ชีวิด
 มีอากัปกริยา)
--การรับสารประเภทจรรโลงใจ
-การฟังสารประเภทจรรโลงใจ
วิธีฟัง
 -ตั้งใจ..สบาย
   -พิจารณาว่าอย่างไร
 -เหมาะสม สมเหตุผล
 -ฟังอย่างเข้าใจ
 -จับสาระสำคัญ
 -จินตนาการ
 -เหมาะสมกับรูปแบบ
   เนื้อหา ผู้รับสาร หรือไม่
เพลง
กวีนิพนธ์
นิทาน หรือ ปกิณกะ
ธรรมะ
-การอ่านสารประเภทจรรโลงใจ
--ขั้นตอนการอ่านสารประ
เภทจรรโลงใจ
   -การอ่านสารคดี
สารคดี
  -สารคดีชีวประวัติ
   และ อัตชีวประวัติ
  -สารคดีรายงาน
                        เหตุการณ์
  -สารคดีท่องเทียว
  -ขั้นตอนการอ่านสารคดี
     ๑.จับใจความสำคัญ
     ๒.วิเคราะห์ความคิด         เห็นของผู้เขียน
     ๓.พิจารณากลวิธีการ
เขียน
                               -ตั้งชื่อเรื่อง
       -โครงเรื่องมีลำดับ
       -ดำเนินเรื่องอย่างไร
       -ถูกต้อง ทันสมัย
       -มี่ภาพประกอบ
     ๔.การพิจารณาความ
ประสานกลมกลืน
-การอ่านบันเทิงคดี
    ปฎิกิริยาทางอารมณ์
฿฿฿     -ศฤงคารรส (รสแห่งรัก)
***-หาสยรส       (รสแห่ง ความสนุกสบาย)     -เราทรรส (รสแห่ง ความแค้นเคือง ความโกรธ)
    -วีรรส (รสแห่งความกล้า หาญ ความมุ่งมั่น อุตสาหะ)
   -กรุณารส (รสแห่งความทุกข์ โศก สงสาร กรุณา)
   -ภยานกรส (ความกลัว)
   -พีภัตสรส (ความน่ารังเกียจ
เบื่อระอา ชิงชัง)
   -อัทภุตรส (ความพิศวง อัศจรรย์ใจ)
  -ศานตรส (ความสงบ)
---อุงประกอบ เรื่องสัน (824เป็นเรื่องสัน)
       1แนวคิด
2-โครงเรื่อง
3-ตัวละคร
4-ฉาก
5-กลวิธีการดำเนินเรื่อง
---นิตยสาร a day : รายเดือน..เรื่องคนวัย หนุ่มสาวใหม่..แปลกใหม่ สารคดี
---นิตยสาร มติชนรายสัปดาห์ :
การเมือง....ศิลปะ..วัฒนธรรม
---จุดมุ่งหมายของการพูดจรรโลงใจ
1-เพิ่มให้คลายทุกข์
2-เพิ่มให้เพิ่มสุข
3-เพิ่มให้คติข้อคิด
---ลักษณะการพูดจรรโลงใจ
1-พูดให้คนฟังมีประโยช
2-พูดให้โอกาศต่างๆ
3-พูดที่มีทางการ (ปีใหม่....)
4-พูดให้คำแน้นำ
---การกล่าว สุนทรพจน์
_คำพูด อ่อนหวาน ไพเราะจับใจ....
ในโอการ กล่าวปฐมนิเทศต่างๆ
---การเขียน วิจารณ์​ : ข้อ ดี เสี่ย อะไรบ้าง
--ชนิดการวิจารณ์
1-จิตวิจารณ์
   --อารมณ์รู้สึกของผู้วิจารณ์
2-อรรถวิจารณ์
   --แปล หรือ ตีความ
3-วิพากษ์วิจารณ์
  --ข้างบททั้งสองอย่าง
---คุณสมบัตของผู้วิจารณ์
1-ต้องมีความรอบรู้ วิจารณ์เรื่องไหน
ต้องรู้เรื่องนั้น
2-ความเคลื่อนไหวของวงการ เปลียน
แปลงตามกาลทะสะ
3-ต้องมี่ความคิดที่เฉียบแหลม หรือ
ความสามารถรู้ถึงแก่นเรื่อง
---คุณค่า
-ค้านอารมณ์....ความสุขแนๆ
-ด้านสติปํญญา..มี่ประโยชน์ต่อชีวิด
-ด้านยกระดับจิตใจ..อ่านแล้วเกิด
รส(9รส)
********************************************
Chapter 5 - การสื่อสารเพื่อโน้มน้าวใจ
--โน้มน้าวใจสามารถเปลียนแปรสิ่งใดๆได้
--โน้มน้าวใจเกิดประโยชน์ต่อ
1-ผู้ส่งสาร
2-ผู้รับสาร
3-หน่วยงาน หรือ องค์กร
4-สังคม
--จุดมุ่งหมายในการโน้มน้าวใจ
1-เชื่อในช่วงเวลาหนึ่ง แต่ไม่ปฎิบัติ
ตาม
2-เชื่อแล้วปฎิบัติตามในแค่เวลาสั้น
หนึ่ง
3-เชื่อแล้วปฎิบัติตามต่อไปตลอด
--ลักษณะ โน้มน้าวใจ
1-จุดมุ่งหมายชัดแจนแน่นอน
2-ใช้คำพูดน่าสนใจ ติดหู
3-บอกให้รู้คุณประโยชน์ที่ได้รับ
4-ชี้ให้เห็นผลดีเสี่ยจะเกิดขึ้น
5-ตอบสนองผู้รับสารในด้านต่างๆ
6-แสดงน่ารู้สึกเป็นมิตร จริงใจ
น่าไว้วางใจ
7-กระตุ้น ให้เกิดการปฎิบัติ
--องค์ประกอบพื้นฐาน โน้มน้าวใจ
1-ผู้ส่งสาร...มีความน่าเชื่อถือ..อายุ
เพศ อาชีพ ...
2-สาร...ถ้อยคำ..คำพูด มีความสนใจ
3-สื่อ...การนำข้องทางด้านต่างๆ
Radio TV Magazine News ....
4-ผู้รับสาร...ข้อมูลที่ส่งให้ผู้รับสารไม่
เหมือนกัน ต้องดูสถานะความเป็นอยู่
อารมณ์ต่างๆ
5-สถานการณ์...สถานการณ์เหมือนกัน
เมาะสม ระหวังผู้ส่งและรับสาร
--ลักษณะต่อผู้รับสารที่ได้ผล
-ผู้หญิง มากกว่า ผู้ชาย
-วัยเยาว์ หนุ่ม มากกว่า วัยแก่
-ระดับสัติปํญญาเฉยียวฉลาดามากกว่า
เท่าใด จะยิ่งถูกโน้มน้าวใจได้น้อยลง
เท่านั้น
-การศึกษาระดับสูง ยอมรับฟังมากกว่า
-มีความมั่นใจต้นเอง ไม่กลัวการรับฟัง
-ประสบการณ์ และ ภูมิหลัง ไม่อยาฟ้ง
ซำ้ไปซำ้มา
-บุคลิกภาพภายใน ​คิดต้นเองถูกเสมอ
ยากในการโน้มน้าว

เฉลยท้ายบทที่ ๕
 ๑.การโน้มน้าวใจคือ การพยายามทำให้บุคคลอื่นเปลี่ยนการกระทำ หรือทัศนคติ
๒.การโน้มน้าวใจที่ดี มีประโยชน์ต่อ ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร หน่วยงานหรือองค์กร และ สังคม
๓.การโน้มน้าวใจประชาชนผู้ขับขี่มอเตอร์ไซด์ให็สวนหมวกนิรภัย มีประโยชน์ต่อ ผู้รับ และ สังคม
๔.หลักการโน้มน้าวใจที่ดีที่ควรยึดถือเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อทุกฝ่ายควรยึดถือหลัก คือต้องเป็นการโน้มน้าวใจที่ตั้งอยู่บนพื้นฐาน
ของความคิดที่ดี ยึดถือหลักของการมีคุณธรรม และ ศีลธรรมอันดีงาม
๕.จุดมุ่งหมายในการโน้มน้าวใจมี
-เพื่อชักชวนให้เกิดความรู้สึกคล้อยตาม ยอมรับ และ เกิดความเชื่อถือศรัทธา
-เพื่อกระตุ้นให้เกิดการกระทำและลงมือปฎิบัติ
-เพื่อเปลี่ยนแปลงความรู้สึกนึกคิด
๖.การโน้มน้าวใจ ให้ปิดไฟทุกครั้งหลังใช้งาน เป็นการโน้มน้าวใจเพื่อจุดมุ้งหมาย เพื่อกระตุ้มให้เกิดการกระทำ และ ลงมือปฎิบัติ
๗.ข้อความที่ว่า " ลูกมากจะยากจน " มี่ลักษณะการโน้มน้าวใจให็ผู้รับสารเกิดความคิดเห็น และ ไม่อยากมีลูกมาก กลัวว่าจะจนจริง
๘." รีบๆ หน่อย...ก่อนที่นั่งจะเต็ม !! "
" ฮ่องกง , เซี่ยงไฮ้ , โตเกียว , เคลลี , มุมไบ "
" Air - Iadia สายการบินที่รักคุณ "
โฆษณานี้มีลักณะการโน้มน้าวใจให้ผู้รับสารเกิดความคิดเห็นว่าต้องรีบไปจองที่นั่ง ถ้าเราจะไป ฮ่องกง , เซี่ยงไฮ้ , โตเกียว ,
เคลลี หรือ มุมไบ กับเครื่องบินชื่อ Iadia มิฉะนั้นเราจะไม่มีที่นั่งเลย
๙. ตอบ
- ผู้ส่งสาร
- สาร
- สื่อ
- ผู้รับสาร
- สถานการณื
๑๐. ตอบ ๔.ภาพข่าวพร้อมคำบรรยายในหน้าหนังสือพิมพ์
๑๑. ตอบ ความต้องการความรู้สึกมั่นคง ปลอดภัย เป็นความต้องการทางจิตใจ
๑๒. ตอบ ผู้ส่งสารต้องทราบว่า ผู้รับสารมีความต้องการอยู่ในระดับใด จึงนำเสนอสารให้สอดคล้องกับความต้องการ
๑๓. ตอบ กฎแห่งการตอบแทน
๑๔. ตอบ กฎที่ว่าด้วยความเก่ง
๑๕. ตอบ กฏที่ว่าด้วยการเสนอภาพความขัดแย้ง
๑๖. ตอบ จุดจูงใจโดยใช้ความกลัว
๑๗. ตอบ การเปลี่ยนแปลงด้านความรู้และทัศนคติ และการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรม
๑๘. ตอบ การเปลี่ยนแปลงด้านความรู้และทัศนคติ
๑๙. ตอบ ผู้รับสาร รับรู้ เชื่อถือและเปลี่ยนแปลงทัศนะคติหรือการกระทำบางอย่าง เลิกเชื่อถือสิ่งที่เคบปฏิบัติ
๒๐. ตอบ ๑.ขั้นประสบความสำเร็จ
๒.ขั้นประสบผลเกินคาด
๓.ขั้นประสบผลถาวร
๒๑. ตอบ ผิด
๒๒.ตอบ ถูก
๒๓. ตอบ ถูก
๒๔.ตอบ เพราะเนื่องจากคนที่อายุมาก จะมีประสบการณ์และผ่านอะไรมามากกว่าผุ้ที่มีอายุน้อย จึงทำให้เกิดความมั่นใจในตัวเองสูง และไม่เชื่อใครง่าย ๆ ส่วนผู้ที่มีสติปัญญาจะคิดวิเคราะห์ก่อนเสมอว่าควรจะเชื่อหรือไม่ เนื่องจากมีความรู้และเป็นผู้มีสติปัญญามาก
๒๕. ตอบ การรู้กาลเทศะ
๒๖. ตอบ เป็นการใช้ภาษาที่สั้นกระชับ มีน้ำหนักและความหมายเป็นคำคล้องจองมีจังหวะลีลาซึ่งง่ายแก่การจดจำ เนื้อหาของคำขวัญให้ความหมายที่ตอกย้ำสิ่งที่โน้มน้าวใจ
๒๗. ตอบ ใช้ภาษาแบบสะดุดใจ
๒๘. ตอบ ๑ “ร่วมกันทำความดีเพื่อถวายในหลวงของเรา”
๒๙.ตอบ ๒.”ร่วมกันสร้างความดีเพื่อพ่อของแผ่นดิน”
๓๐. ตอบ การสัมผัส
๓๑. ตอบ มุมบนด้านซ้ายมือ
๓๒. เชื่ออวัจนภาษา

No comments:

Post a Comment