Friday, March 9, 2012

สังคมเช่งบูรณาการณ์ - แนวข้อสอบปลายภาค Final examination

วิชา : 215101 - Integral Society  
สังคมเช่งบูรณาการณ์ - ปลายภาค
  • บทที่ 5 - มนุษกับการเมือง
    • สาเหตุสำคัญ 5 ประการที่มนุษย์มาอยู่ร่าวมกันเป็นสังคม แต่ละสาเหุตุมีสาระสำคัญอย่างไร
      • 1.ธรรมชาติของมนุษย์ (Human Social Nature)
        • มนุษย์ต้องผูกพันกับคนอื่นเพราะต้องอาศัยผู้อื่นในการเลี้ยงดู
      • 2.ความต้องการของมนุษย์ในเรื่องปัจจัยสี่ (Human needs)
        • มนุษย์ต้องอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มเป็นสังคม มนุษย์ต้องการเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม บ้านที่อยู่อาศัย ....
      • 3.มนุษย์เป็นสัตว์มีวัฒนธรรม (Cultural Creature)
        • วัฒนธรรมเป็นแบบอย่างการดำเนินชีวิตในเรื่องต่างๆของกลุ่มสังคง
      • 4.ความรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน (Consciousness of Kind)
        • เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
      • 5.คามต้องการควาอบอุน ปลอดภัย (Security)
        • ต้องการให้มีความปลอดภัยในชีวิต และ ทรัพย์สิน
    •  เครื่องมือทางการปกครองของรัฐบาลได้แก่อะไร และ สถาบันใดเป็นผู้ใช้อำนาจปกครอง
      • การกำหนดเป้าหมายของสังคม
      • การระดมและจัดสรรทรัพยากรของสังคม
      • การกระจายทรัพยากรแก่สมาชิกของสังคม
      • การควบคุมสังคม
      • >>> การปกครองเริ่งต้นจากครอบครัวไปสู่รัฐ
    • หน้าทีของรัฐบาล
    • รูปแบบการระดมทรัพกรจากสมกชิกในสังคมในปัจจุบันใช้รูปแบบใดบ้าง เช่น การเสียภาษี การเกณฑ์ทหาร
    • สังคมมีวิวัฒนาการกี่ระดับ และมีสาระสำคัญอะไรบ้าง
    • การเกิดของสหภาพยโรป (EU) จัดเป็นวิวัฒนาการเหนือรัฐใช่หรือไม่
    • องค์ประกอบ 4 ประการของรัฐสมัยใหม่ (modern state) มีอะไรบ้าง
    • สาระสำคัญของการเมืองมีเรื่องเกี่ยวกับอะไร และ ใช้เพื่ออะไร
    • สาระสำคัญของผู้นำในทัศนะเดียววาลี่มีสาระสำคัญว่าอย่างไร
    • รูปแบบการปกครอง จำแนกตามจำนวนผู้ใช้ และวัตถุประสงค์ของการปกครอง
    • แหล่งที่มาของอำนาจทางการเมืองของระบอบประชาธิปไตย และ เผด็จการ
    • เหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกคลอง 2745
    • ความสำคัญของการเมืองในมิติต่างๆ
    • รากฐานของกิจกรรมทางการเมืองของ 4 ประการ
    • ลัษณะสภาพพลวัตรของกิจกรรมของการเมืองหมายความว่าอะไร
    • ความสำคัญของระบบกษัตริย์กับกฎหมายและรัฐธรรมนูญ
    • สาระสำคัญของรัญธรรมนุญไทยฉบับปัจจุบัน
    • หน้าที่ของอำนาจ นิติบัญญัต บริหาร และ ตุลาการ
    • ประมุขของ 3 อำนาจอธิปไตยได้แก่ตำแหน่งอะไร ใครใหญ่ที่สุด
    • รัฐสภาของไทยประกอบด้วยอะไรบ้าง มีสมาชิกเท่าใด ใครมาจากระบบใดบ้าง
    • รธน.ไทยระบุว่าอำนาจอธิปไตยที่แท้เป็นของผู้ใด
    • สาระสำคัญของนายกรัฐมนตรี และ คณะรัฐมนตรีตามบทบัญญัตแห่งรัฐธรรมนุญ 2550
    • ระบบตุลาการของไทยในปัจุจบัน
    • แบบแผนการเข้าไปมีมีส่วนร่วนทางการเมือง 2 ประเภทใหญ่
    • วัฒนธรรมทางการเมืองแบบผสมของคนไทยในปัจจุบันน่าจะตรงกับลักษณะใดมากที่สุด
    • วัฒนธรรมแบบประชาธิปไตยกับวัฒนธรรมแบบอุปถัมภ์ของไทยมีความขัดแย้งกันส่วนใด
  •  ความรู้ทั่วไปการเมือง
    • รัฐมนตรัว่าการกระทรวงที่สำคัญๆ
    • บุลคนที่เกี่ยวข้องกับการเมืองในสถานการณ์ปัจจุบัน
    • นายกรัฐมนตรั 5 คนในหลังสุดท้าย
    • พรรคร่วมรัฐบ้าล พรรคฝ่ายค้าน ในยุคปัจจุบัน
    • นายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งยาวนานเป็นลำดับต้ม และ ลั้นที่สุด
    • นายกรัฐมนตรัผลเรีอนที่ครองตำแหน่งยาวนาน อยู่ครบวาระ
  • บทที่ 6 - ระบอบราชการไทย
    • รัฐประศาสนศาสตร์มีสาระสำคัญเกี่ยวกับอะไร
    • หน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำคืออะไรมีความสำคัญอย่างไร
    • องค์ประกอบของระบบราชการ 4 ประการมีอะไรบ้าง
    • องค์ประกอบของทฤษฎีระบบราชการของ Max Weber มีสาระสำคัญแต่ละข้ออะไรบ้าง
    • ภารกิจ 20 กระทรวงหลักต่างๆ ในปัจจุบัน
    • ภารกิจของระบบราชการคืองานเกี่ยวกับอะไร
    • ระเบียบบริหารราชาการแผ่นดิน 3 ส่วนกับแนวคิดทางการบริหารราชการ 3 แนวคิดมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
    • ประเภทของข้าราชการไทย ทั้งข้าราชการประจำ และ ข้าราชการการเมืองมีที่มาและที่ไปแต่กต่างกันอย่างไร
    • ปัญหา 3 ประการของระบบราชการไทย
    • วัตถุประสงของการปฎิรูประบบราชการไทย
    • หน่วยงานที่เป็นพัฒนาระบบราชการไทยในปัจจุบันคือหน่วยงานใด
    • ลักษณะของระบบราชการยุคใหม่เป็นอย่างไร
  • บทที่ 7 - การประกอบธุรกิจ
    •  การจัดตั้งธุรกิจในรูปแบบต่างๆ 3 รูปแบบ มีสาระสำคัญอย่างไร มีข้อดีข้อเสียอย่างไร
    • คุณสัมบัติของผู้เริ่มต้นการประกอลธุรกิจ
    • แนวคิดเรื่องจริยธรรมในเรื่องทำธุรกิจ (CRS)
    • การลงทุนในหมวดสินทรัพย์ถาวน หมวดค่าใช้จ่ายคงที่ ค่าใช้จ่ายการดำเนินงาน ด้านการตลาด และ อื่นๆมีรายละเอียดอะไรบ้าง
    • ส่วนผสมการตลาด คือ 4'p และ ส่วนเพิ่มเติม
    • หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งส่วนตลาด 2 ข้อ
  • บทที่ 8 - ความรู้ในการบริหารจัดการ
    • งานขั้นตอนแรกของการบริหารได้แก่งานใด
    • ลักษณ์สำคัญของความหมายและองค์ประกอบขององค์การ
    • ทรัพยากรขั้นพื้นฐานตามหลัก 4M และ 6M
    • การบริหารทั้งฐานะเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ คืออะไร
    • หัวใจหลักและหน้าที่ของผู้บริหารคืออะไร
    • กระบวนการบริหาร และ หน้าที่ของนักบริหารแต่ละขั้นตอนเทียบได้กับอะไร
    • องประกอบของ POSDCoRB เป็นแนวคิดของ Luther Gulick
      • Planning - การวางแผน หมายถึง การกำหนดเป้าหมายขององค์การว่า ควรทำงานเพื่อวัตถุประสงค์ใด จะดำเนินการอย่างไร โดยคำนึงถึงเหตุการณ์ในอนาคต การวางแผนจึงเป็นการวางเค้าโครงกิจกรรมและวิธีการทำงานล่วงหน้าเพื่อบรรลุเป้าหมายที่กำหนด
      • Organizing – การจัดองค์การ หมายถึง การกำหนดโครงสร้างที่เป็นอำนาจหน้าที่ขององค์การ โดยยึดหลักการบางหน่วยงานและทำงานอย่างประสานร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์การ
      • Staffing – การบริหารงานบุคคล เริ่มตั้งแต่ การวิเคราะห์งาน การวางแผนบุคลากร การสรรหา การคัดเลือก การฝึกอบรม การพัฒนา และจูงใจ
      • Directing – การสั่งการ หมายถึง การที่ผู้บริหารต้องตัดสินใจอยู่ตลอดเวลา โดยการแปลงการตัดสินใจออกมาในรูปของคำสั่งหรือคำแนะนำ ซึ่งต้องอาศัยภาวะความเป็นผู้นำเพื่อการทำงานบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนด 
      • Coordinating – การประสานงาน หมายถึง บทบาทที่ผู้บริหารต้องทำหน้าที่ในการประสานงานหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์การ ซึ่งอาจเป็นเรื่องที่มีความเกี่ยวเนื่องกัน หรือเป็นเรื่องระหว่างหน่วยงานหลักและหน่วยงานสนับสนุน  
      • Reporting – การรายงาน หมายถึง กระบวนการและเทคนิคของการแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบถึงความก้าวหน้าของงานที่ได้รับมอบหมาย 
      • Budgeting – การงบประมาณ หมายถึงภารกิจเกี่ยวกับการวางแผน การทำบัญชี การควบคุมเกี่ยวกับ   
    • องประกอบของ POCCC  เป็นแนวคิดของ Henri Fayol
      •  Planning- การวางแผน คือ การคาดการณ์ล่วงหน้าถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่จะมีผลกระทบต่อธุรกิจ และกำหนดขึ้นเป็นแผนการปฏิบัติงาน หรือวิถีทางที่จะปฏิบัติขึ้นไว้เป็นแนวทางการทำงานในอนาคต 
      • Organizing-การจัดองค์การ คือ การจัดให้มีโครงสร้างของงานต่างๆ และอำนาจหน้าที่ให้อยู่ในส่วนประกอบที่เหมาะสมที่จะช่วยให้งานขององค์การบรรลุผลสำเร็จ
      • Commanding-การบังคับบัญชาสั่งการ คือ การสั่งงานต่างๆ แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งผู้บริหารต้องกระทำตนเป็นตัวอย่างที่ดี และต้องเข้าใจผู้ปฏิบัติงานด้วยเข้าใจข้อตกลงในองค์การ รวมทั้งการติดต่อสื่อสารในองค์การด้วย 
      • Coordinating-การประสานงาน คือ การเชื่อมโยงงานของทุกคนให้เข้ากันได้และไปสู่เป้าหมายเดียวกันในที่สุด 
      • Controlling-การควบคุม คือ การที่จะต้องกำกับให้สามารถประกันได้ว่ากิจกรรมต่างๆ ที่ทำไปนั้น สามารถเข้ากับแผนที่วางไว้แล้ว 
    • เปรียบเทียบ POSDCoRB กับ POCCC
      • Directing ของ POSDCoRB เหมือนกับ Commanding ของ POCCC
    • การสื่อสารในองค์การ
    • การตัดสินใจในผู้บริหารในองค์การ
    • พฤติกรรมองค์การเกี่ยวกับอะไรบ้าง
    • อิทผลของผู้นำแต่ละรูปแบบ
    • มิติทางการบริหารของ มาร์ติน แกนนอน แต่ละมิติมีสาระสำคัญอะไรบ้าง

No comments:

Post a Comment